วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ประโยชน์ของเครือข่าย

ประโยชน์ของเครือข่าย
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทำได้ง่าย
โดยผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถที่จะดึงข้อมูลจากส่วนกลาง หรือข้อมูลจากผู้ใช้คนอื่นมาใช้ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย เหมือนกับการดึงข้อมูลมาใช้จากเครื่องของตนเอง และนอกจากดึงไฟล์ข้อมูลมาใช้แล้ว ยังสามารถคัดลอกไฟล์ไปให้ผู้อื่นได้อีกด้วย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายนั้น ถือว่าเป็นทรัพยากรส่วนกลางที่ผู้ใช้ในเครือข่ายทุกคน สามารถใช้ได้โดยการสั่งงานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของ ตัวเองผ่านเครือข่ายไปยังอุปกรณ์นั้น เช่น มีเครื่องพิมพ์ส่วนกลางในเครือข่าย เป็นต้น ซึ่งทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ด้วย
ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้
ใช้โปรแกรมร่วมกัน
ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถที่จะรันโปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลาง เช่น โปรแกรม Word, Excel, Power Point ได้ โดยไม่จำเป็นจะต้องจัดซื้อโปรแกรม สำหรับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อ และยังประหยัดเนื้อที่ในหน่วยความจำด้วย
ก่อนที่เครือข่ายจะเป็นที่นิยม องค์กรส่วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ในการจัดการงาน และข้อมูลทุกอย่างในองค์กร แต่ปัจจุบันองค์กรสามารถกระจายงานต่าง ๆ ให้กับหลาย ๆ เครื่อง แล้วทำงานประสานกัน เช่น การใช้เครือข่ายในการจัดการระบบงานขาย โดยให้เครื่องหนึ่งทำหน้าที่จัดการการเกี่ยวกับใบสั่งซื้อ อีกเครื่องหนึ่งจัดการกับระบบสินค้าคงคลัง เป็นต้น
ทำงานประสานกันเป็นอย่างดี
ติดต่อสื่อสารสะดวก รวดเร็ว
เครือข่ายนับว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล กับเพื่อนร่วมงานที่อยู่คนละที่ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว
เรียกข้อมูลจากบ้านได้
เครือข่ายในปัจจุบันมักจะมีการติดตั้งคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งเป็นเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากระยะไกล เช่น จากที่บ้าน โดยใช้ติดตั้งโมเด็มเพื่อใช้หมุนโทรศัพท์เชื่อมต่อ เข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็จะเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย

ที่มา  http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_network2.htm





เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ — Document Transcript


2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ — Document Transcript

  • 1. ใบความรู้ ที 2.3 เทคโนโลยีการรับส่ งข้ อมูลในเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ตัวกลางหรื อสายเชื อมโยง เป็ นส่ วนทีทําให้เกิดการเชื อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ต่างๆ เข้าด้วยกันและอุปกรณ์นียอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผูส่งไปสู่ ผรับ สื อกลางทีใช้ในการสื อสารข้อมูลมี ้ ู้ ่อยูหลายประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริ มาณข้อมูล ทีสื อกลางนัน ๆ สามารถนําผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ ง การวัดปริ มาณหรื อความจุในการนําข้อมูลหรื อ ทีเรี ยกกันว่าแบบด์วิดท์ (bandwidth) มีหน่วยเป็ นจํานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดงต่อไปนี ัสื อกลางประเภทมีสาย ่ เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนําแสง เป็ นต้น สื อทีจัดอยูในการสื อสารแบบมีสายทีนิ ยมใช้ในปั จจุบน ได้แก่ ั 1. สายทองแดงแบบไม่ ห้ ุมฉนวน (Unshield Twisted Pair) ั ั มีราคาถูกและนิยมใช้กนมากทีสุ ด ส่ วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนีมักจะถูก ัรบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน 2. สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair) มีลกษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้าด้วยกันเพือลดเสี ยงรบกวน มีฉนวนหุ ้มรอบ ันอก มีราคาถูก ติดตังง่าย นําหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าตํา สายโทรศัพท์จดเป็ นสายคู่บิดเกลียว ัแบบหุ มฉนวน ้วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 2. 3. สายโคแอคเชี ยล (Coaxial) สายแบบนี จะประกอบด้วยตัวนําที ใช้ในการส่ งข้อมูลเส้ นหนึ งอยู่ตรงกลางอี กเส้ นหนึ งเป็ นสายดิน ระหว่างตัวนําสองเส้นนีจะมีฉนวนพลาสติก กันสายโคแอคเชี ยลแบบหนาจะส่ งข้อมูลได้ไกลหว่าแบบบางแต่มีราคาแพงและติดตังได้ยากกว่า สายเคเบิลแบบโคแอกเชี ยลหรื อเรี ยกสัน ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็ นสายสื อสารทีมีคุณภาพทีกว่าและราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่ วนของสายส่ งข้อมูลจะอยูตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีชนของตัว ่ ัเหนี ยวนําหุ ้มอยู่ 2 ชัน ชันในเป็ นฟั นเกลียวหรื อชันแข็ง ชันนอกเป็ นฟั นเกลียว และคันระหว่างชันด้วยฉนวนหนา เปลือกชันนอกสุ ดเป็ นฉนวน สายโคแอกสามารถม้วนโค้งงอได้ง่าย มี 2 แบบคือ 75 โอมห์ และ 50 โอมห์ ขนาดของสายมีตงแต่ 0.4 - 1.0 นิ ว ชันตัวเหนี ยวนําทําหน้าทีป้ องกัน ัการสู ญเสี ยพลังงานจากแผ่รังสี เปลือกฉนวนหนาทําให้สายโคแอกมีความคงทนสามารถฝังเดินสายใต้พืนดินได้ นอกจากนันสาย โคแอกยังช่วยป้ องกัน "การสะท้อนกลับ" (Echo) ของเสี ยงได้อีกด้วยและลดการ รบกวนจากภายนอกได้ดีเช่นกัน สายโคแอกสามารถส่ งสัญญาณได้ ทังในช่องทางแบบเบสแบนด์และแบบบรอดแบนด์ การส่ งสัญญาณในเบสแบนด์สามารถทําได้เพียง 1 ช่องทางและเป็ นแบบครึ งดูเพล็กซ์ แต่ในส่ วนของการส่ งสัญญาณ ในบรอดแบนด์จะเป็ นเช่นเดียวกับสายเคเบิลทีวี คือสามารถส่ งได้พร้อมกันหลายช่องทาง ทังข้อ มู ล แบบดิ จิ ต อลและแบบอนาล็ อ ก สายโคแอกของเบสแบนด์ ส ามารถส่ ง สั ญ ญาณได้ไ กลถึง 2 กม. ในขณะทีบรอดแบนด์ส่งได้ไกลกว่าถึง 6 เท่า โดยไม่ตองเครื องทบทวน หรื อเครื องขยาย ้สัญญาณเลย ถ้าอาศัยหลักการมัลติ เพล็กซ์ สัญญาณแบบ FDM สายโคแอกสามารถมี ช่องทาง(เสี ยง) ได้ถึง 10,000 ช่องทางในเวลาเดียวกัน อัตราเร็ วในการส่ งข้อมูลมีได้สูงถึง 50 เมกะบิตต่อวินาที หรื อ 800 เมกะบิตต่อวินาที ถ้าใช้เครื องทบทวนสัญญาณทุก ๆ 1.6 กม. ตัวอย่างการใช้สายโค ัแอกในการส่ งสัญญาณข้อมูลที ใช้กนมากในปั จจุบน คือสายเคเบิ ลที วี และสายโทรศัพท์ทางไกล ั(อนาล็อก) สายส่ งข้อมูลในระบบเครื อข่ายท้องถิน หรื อ LAN (ดิจิตอล) หรื อใช้ในการเชื อมโยงสัน ๆระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 4. ใยแก้ วนําแสง (Optic Fiber) ทําจากแก้วหรื อพลาสติกมีลกษณะเป็ นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทําตัวเป็ นสื อในการส่ ง ัแสงเลเซอร์ ทีมีความเร็ วในการส่ งสัญญาณเท่ากับ ความเร็ วของแสง หลักการทัวไปของการสื อสารในสายไฟเบอร์ ออปติกคือการเปลียนสัญญาณ (ข้อมูล) ไฟฟ้ าให้เป็ นคลืนแสงก่อน จากนันจึงส่ งออกไปเป็ นพัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ ออปติกสายไฟเบอร์ ออปติกวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 3. ทําจากแก้วหรื อพลาสติกสามารถส่ งลําแสง ผ่านสายได้ทีละหลาย ๆ ลําแสงด้วยมุมทีต่างกัน ลําแสงทีส่ งออกไปเป็ นพัลส์นนจะสะท้อนกลับไปมาทีผิวของสายชันในจนถึงปลายทาง ั จากสัญญาณข้อมูลซึ งอาจจะเป็ นสัญญาณอนาล็อกหรื อดิจิตอล จะผ่านอุปกรณ์ ทีทําหน้าทีมอดู เ ลตสั ญ ญาณเสี ย ก่ อ น จากนันจะส่ ง สั ญ ญาณมอดู เลต ผ่า นตัว ไดโอดซึ งมี 2 ชนิ ดคือ LED ไดโอด (light Emitting Diode) และเลเซอร์ ไดโอด หรื อ ILD ไดโอด (Injection LeserDiode) ไดโอดจะมี หน้าที เปลี ยนสัญญาณมอดู เลตให้เป็ นลําแสงเลเซอร์ ซึงเป็ นคลื นแสงในย่านทีมองเห็นได้ หรื อเป็ นลําแสงในย่านอินฟราเรดซึ งไม่สามารถมองเห็นได้ ความถีย่านอินฟราเรดทีใช้จะ ่อยูในช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลําแสงจะถูกส่ งออกไปตามสายไฟเบอร์ ออปติก เมือถึงปลายทางก็จะมีตัวโฟโต้ไดโอด (Photo Diode) ทีทําหน้าทีรับลําแสงทีถูกส่ งมาเพือเปลียนสัญญาณแสงให้กลับไปเป็ นสัญญาณมอดูเลตตามเดิ ม จากนันก็จะส่ งสัญญาณผ่านเข้าอุปกรณ์ ดีมอดูเลต เพือทําการดี มอดูเลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลือแต่สัญญาณข้อมูลทีต้องการ สายไฟเบอร์ ออปติกสามารถมีแบนด์วดท์ (BW) ได้กว้างถึง 3 จิกะเฮิรตซ์ (1 จิกะ = 109) และ ิมีอตราเร็ วในการส่ งข้อมูลได้ถึง 1 จิกะบิต ต่อวินาที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ตองการเครื อง ั ้ทบทวนสั ญ ญาณเลย สายไฟเบอร์ อ อปติ ก สามารถมี ช่ อ งทางสื อสารได้ ม ากถึ ง 20,000-60,000 ช่องทาง สําหรับการส่ งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ ไม่เกิน 10 กม. จะสามารถมีช่องทางได้มากถึง 100,000 ช่องทางทีเดียว ข้ อดีของใยแก้ วนําแสดงคือ 1. ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้ าได้มาก 2. ส่ งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ตองมีตวขยายสัญญาณ ้ ั 3. การดักสัญญาณทําได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่ งแบบอืน 4. ส่ งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสู งและสามารถส่ งได้มาก ขนาดของสายเล็กและนําหนักเบา ้วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 4. สื อกลางประเภทไม่ มีสาย ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) การส่ งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลืนไมโครเวฟเป็ นการส่ งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอ (สถานี) ส่ ง-รับสัญญาณหนึงไปยังอีกหอหนึง แต่ละหาจะครอบคลุมพืนทีรับสัญญาณประมาณ 30-50 กม. ระยะห่างของแต่ละหอคํานวณง่าย ๆ ได้จากสู ตร d = 7.14 (1.33h)1/2 กม. เมือ d = ระยะห่างระหว่างหอ h = ความสู งของหอ ั การส่ งสัญญาณข้อมูลไมโครเวฟมักใช้กนในกรณี ทีการติดตังสายเคเบิลทําได้ไม่สะดวก เช่ นในเขตเมืองใหญ่ ๆ หรื อในเขตทีป่ าเขา แต่ละสถานี ไมโครเวฟจะติดตังจานส่ ง-รับสัญญาณข้อมูล ซึ งมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต สัญญาณไมโครเวฟเป็ นคลืนย่านความถีสู ง (2-10 จิกะเฮิรตซ์) เพือป้ องกันการแทรกหรื อรบกวนจากสัญญาณอืน ๆ แต่สัญญาณอาจจะอ่อนลง หรื อหักเหได้ในทีมีอากาศร้อนจัด พายุหรื อฝน ดังนันการติดตังจาน ส่ ง-รับสัญญาณจึงต้องให้หนหน้าของจานตรงกัน และหอยิง ัสู งยิงส่ งสัญญาณได้ไกล ปั จจุบนมีการใช้การส่ งสัญญาณข้อมูลทางไมโครเวฟกันอย่างแพร่ หลาย สําหรับการสื อสาร ัข้อมูลในระยะทางไกล ๆ หรื อระหว่างอาคาร โดยเฉพาะในกรณี ทีไม่สะดวกทีจะใช้สายไฟเบอร์ ออปติก หรื อการสื อสารดาวเทียม อีกทังไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตังได้ง่ายกว่า และสามารถส่ งข้อมูลได้คราวละมาก ๆ ด้วย อย่างไรก็ตามปั จจัยสําคัญทีทําให้สือกลางไมโครเวฟเป็ นทีนิ ยม คือราคาทีถูกกว่าวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 5. การสื อสารด้ วยดาวเทียม (Satellite Transmission) ทีจริ งดาวเทียมก็คือสถานี ไมโครเวฟลอยฟ้ านันเอง ซึ งทําหน้าทีขยายและทบทวนสัญญาณ ่ข้อมูล รับและส่ งสัญญาณข้อมูลกับสถานี ดาวเทียม ทีอยูบนพืนโลก สถานี ดาวเทียมภาคพืนจะทําการส่ งสัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึ งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ งมีตาแหน่ งคงทีเมือเทียมกับ ํ ่ตําแหน่งบนพืนโลก ดาวเทียมจะถูกส่ งขึนไปให้ลอยอยูสูงจากพืนโลกประมาณ 23,300 กม. เครื อง ํทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานี ภาคพืนซึ งมีกาลังอ่อนลงมากแล้วมาขยาย จากนันจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตําแหน่งของสถานี ปลายทาง แล้วจึงส่ งสัญญาณข้อมูลไปด้วยความถีในอีกความถีหนึงลงไปยังสถานีปลายทาง การส่ งสัญญาณข้อมูลขึนไปยังดาวเทียมเรี ยกว่า "สัญญาณอัปลิ งก์" (Up-link) และการส่ งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพืนโลกเรี ยกว่า "สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับส่ งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็ นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรื อแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) สถานี ดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25เครื อง และสามารถครอบคลุมพืนทีการส่ งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพืนผิวโลก ดังนันถ้าจะส่ งสัญญาณข้อมูลให้ได้รอบโลกสามารถทําได้โดยการส่ งสัญญาณผ่านสถานีดาวเทียมเพียง 3 ดวงเท่านัน ่ ั ระหว่างสถานี ดาวเทียม 2 ดวง ทีใช้ความถีของสัญญาณเท่ากันถ้าอยูใกล้กนเกินไปอาจจะทําให้เกิดการรบกวนสัญญาณ ซึ งกันและกันได้ เพือหลีกเลียงการรบกวน หรื อชนกันของสัญญาณดาวเทียมจึงได้มีการกําหนดมาตรฐานระยะห่างของสถานีดาวเทียม และย่านความถีของสัญญาณดังนีวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 6. 1. ระยะห่ างกัน 4 องศา (วัดมุ มเที ยงกับจุ ดศูนย์กลางของโลก) ให้ใช้ย่านความถี ของสัญญาณ 4/6 จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน C แบนด์โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญาณอัป-ลิงก์เท่ากับ 5.925-6.425จิกะเฮิรตซ์ และมีแบนด์วดท์ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 3.7-4.2 จิกะเฮิรตซ์ ิ 2. ระยะห่ างกัน 3 องศา ให้ใช้ย่านความถีของสัญญาณ 12/14 จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน KUแบนด์ โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญาณอัป-ลิ งก์เท่ากับ 14.0-14.5 จิกะเฮิรตซ์และมีแบนด์วิดท์ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 11.7-12.2 จิกะเฮิรตซ์นอกจากนีสภาพอากาศ เช่นฝนหรือพายุก็สามารถทําให้สัญญาณผิดเพียนไปได้เช่นกันสําหรับการส่งสัญ ญาณข้อมูลนั้นในแต่ละเครื่องทบทวนสัญญาณจะมีแบนด์วิดท์เท่ากับ 36 เมกะเฮิรตซ์ และมีอัตราเร็วการส่งข้อมูลสูงสุดเท่ากับ 50 เมกะบิตต่อวินาที  ข้อเสียของการส่ งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอืน ๆ ได้ อีกทังยังมีเวลาประวิง(Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึน-ลง ของสัญญาณ และทีสําคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทําให้ค่าบริการสูงตามขึนมาเช่นกันประโยชน์ ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. การแลกเปลี่ยนข้อมูลทําได้ ง่าย โดยผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถทีจะดึงข้อมูลจากส่วนกลางหรือข้อมูลจากผูใช้คนอื่นมาใช้ได้ อย่างรวดเร็วและง่ายดาย เหมือนกับการดึงข้อมูลมาใช้จากเครื่องของตนเอง และนอกจากดึงไฟล์ข้อมูล มาใช้แล้ว ยังสามารถคัดลอกไฟล์ไปให้ผอืนได้อีกด้วย  2. ใช้ ทรัพยากรร่วมกันได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ที่เชือมต่อกับเครือข่ายนั้น ถือว่าเป็ นทรัพยากรส่วนกลางที่ผู้ใช้ในเครือข่าย ทุกคน สามารถใช้ได้โดยการส่งงานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ของ ตัวเองผ่านเครือข่ายไปยังอุปกรณ์นน เช่น มีเครื่องพิมพ์ส่วนกลางในเครือข่าย เป็นต้น ซึงทําให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ดวย 2. ใช้ โปรแกรมร่วมกันผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถทีจะรันโปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนกลาง เช่น โปรแกรม Word, Excel, Power Point ได้ โดยไม่จาเป็นจะต้องจัดซื้อโปรแกรม สําหรับคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องเป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อ และยังประหยัดเนือทีในหน่วยความจําด้วย 3. ทํางานประสานกันเป็นอย่างดี ก่อนทีเครือข่ายจะเป็นที่นิยม องค์กรส่วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ในการจัดการงาน และข้อมูลทุกอย่างในองค์กร แต่ปัจจุบนองค์กรสามารถกระจายงาน ต่าง ๆ ให้กบหลาย ๆ เครื่อง แล้วทํางานประสานกัน เช่น การใช้เครือข่ายในการจัดการระบบงานขายโดยให้เครื่องหนึงทําหน้าทีจัดการการเกียวกับใบสังซื้ออีกเครื่องหนึ่งจัดการกับระบบสินค้าคงคลังเป็ นต้นวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 7. 4. ติดต่อสื่อสารสะดวกรวดเร็วเครือข่ายนับว่าเป็นเครื่องมือทีใช้ในการติดต่อสื่อสาร ได้เป็นอย่างดีผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพื่อนร่วมงานที่อยู่คนละที่ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว 6. เรียกข้อมูลจากบ้านได้เครือข่ายในปัจจุบนมักจะมีการติดตังคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากระยะไกล เช่น จากที่บ้านโดยใช้ติดตังโมเด็มเพือใช้หมุนโทรศัพท์เชื่อมต่อเข้ากับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องนันก็จะเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายข้อมูลอ้าง
  • ที่มา   http://www.slideshare.net/kropeeraya/23-9920640

โพรโทคอล


โพรโทคอล

โพรโทคอล (protocol)
             คือ  ข้อตกลงอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับวิธีที่คอมพิวเตอร์จะจัดรูปแบบและตอบรับข้อมูลระหว่างการสื่อสาร ซึ่งโพรโทคอลจะมีหลายมาตรฐาน และในแต่ละโพรโทคอลจะมีข้อดีข้อเสียต่างกันไป
             การติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายนั้น จำเป็นต้องมีโพรโทคอลที่เป็นข้อกำหนดตกลงในการสื่อสารขึ้น เพื่อช่วยให้ระบบสองระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้  โพรโทคอลนี้เป็นข้อตกลงที่กำหนดเกี่ยวกับกับสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดผลาดของการส่งและรับข้อมูล  การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้น จะเห็นได้ว่าโพรโทคอลมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย ซึ่งหาไม่มีโพรโทคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
            โพรโทคอลที่ใช้ในการสื่อสารมีหลายประเภทเช่น
           1.  โพโทคอลเอชทีทีพี (Hyper Text Transfer Protocol : HTTP) เป็นโพรโทคอลหลักในการใช้งานเวิลด์ไวด์เว็บ โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นช่องทางสำหรับเผยแพร่และแลกเปลี่ยนภาษา เอชทีเอ็มแอล ใช้ร้องขอหรือตอบกลับระหว่างเครื่องลูกข่าย ที่ใช้โปรแกรมค้นดูเว็บกับเครื่องแม่ข่าย โดยทำงานอยู่บนโพรโทคอลทีซีพี (Transfer Control Protocol : TCP)
          2.  โพรโทคอลทีซีพีฝไอพี (Transfer Control Protocol/Internet Protocol :TCP/IP) เป็นโพรโทคอลที่ใช้ในการสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีการระบุผู้รับ ผู้ส่งในเครือข่าย และแบ่งข้อมูลออกเป็นแพ็กเก็ตส่งผ่านไปทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งหากการส่งข้อมูลเกิดความผิดพลาดจะมีการร้องขอให้ส่งข้อมูลใหม่
           3.  บลูทูท (bluetooth) เป็นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz ในการรับส่งข้อมูล คล้ายกับระบบแลนไร้สาย เพื่อให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงไร้สาย เช่น เครื่องพิมพ์  เมาส์  คีย์บอร์ด  โทรศัพท์เคลื่อนที่ หูฟัง เป็นต้น เข้าด้วยกันได้สะดวก
ขอขอบคุณที่มา หนังสือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
ขอขอบคุณที่มา http://www.slideshare.net/krujarin/12-9017214

ชนิดของเครือข่าย


ชนิดของเครือข่าย
           เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด

     -  เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
     -  เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN

 
7.2.1  เครือข่ายแลน
 
 หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน  เช่น ภายในอาคาร  หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก  เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ  การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้  โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง  เครือข่ายแลน มีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ ลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน  คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก  โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที   การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง ทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้
               
7.2.2  เครือข่ายแวน
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล  เช่น  เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด  ระหว่างประเทศ  การสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ  เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย   ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม  ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ   เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น  ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม  เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่งข้อมูล      เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้นๆ  และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน        ในอนาคตอันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัท ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง  เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน  และการทำงานร่วมกัน ในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน         เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย  มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม  เส้นใยนำแสง  คลื่นไมโครเวฟ  คลื่นวิทยุ  สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้ำ  เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
ที่มา  http://www.rayongwit.ac.th/comcen09/network/lesson7.htm

วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ความหมายการสื่อสารข้อมูล (Data Communications)



ความหมายการสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
 
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ  
           วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้  
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ
 
           องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม   สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้            
            1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (source)   อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ 
ข้อมูล และเสียงเป็นต้น
  ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ  ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร 
จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน              2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด
             2.ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์
  ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ 
ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ
ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ
  กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง 


             3. ช่องสัญญาณ  (channel)  ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน  อาจจะเป็นอากาศ  สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว  เช่น  น้ำ  น้ำมัน เป็นต้น          
             4. การเข้ารหัส  (encoding)  เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย  จึงมีความจำเป็นต้องแปลง
ความหมายนี้
  การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง  
ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้              
              5. การถอดรหัส (decoding)  หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร  โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน               6. สัญญาณรบกวน (noise)  เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ  มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร  ผู้รับข่าวสาร  และช่องสัญญาณ   
กรองสัญญาณแต่ต้นทาง
  เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ  เช่น  การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล 
เป็นต้น
ข่ายการสื่อสารข้อมูล หมายถึง
   การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง 
อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า
ข่ายการสื่อสารข้อมูล (
Data Communication Networks) 

องค์ประกอบพื้นฐาน
หน่วยส่งข้อมูล (
Sending Unit)

ช่องทางการส่งข้อมูล (
Transmisstion Channel)

หน่วยรับข้อมูล (
Receiving Unit)

วัตถุประสงค์หลักของการนำการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย
เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล
เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
เพื่อลดเวลาการทำงาน
เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
เพื่อช่วยขยายการดำเนินการองค์การ
เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ


ที่มา  http://budsarakum50.blogspot.com/

วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในยุคต่างๆ



ยุค 1G เป็นยุคที่ใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง โดยไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้น สามารถใช้งานทางด้านเสียงได้อย่างเดียว คือ สามารถโทรออก-รับสายเท่านั่น ถือเป็นยุคแรกของการพัฒนาระบบโทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ โดยใช้วิธีปรับสัญญาณแอนะล็อกเข้าช่องสื่อสาร ซึ่งแบ่งความถี่เป็นช่องเล็กๆ ด้วยวิธีการนี้จึงมีข้อจำกัดในเรื่องจำนวนช่องสัญญาณและการใช้ไม่เต็มประสิทธิภาพ เกิดการติดขัดเรื่องการขยายจำนวนหมายเลขและการขยายแถมความถี่ ซึ่งโทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ยังมีขนาดใหญ่ และการใช้ไฟฟ้ามากอีกด้วย

                             
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&hl=th&prmd=imvns&source=lnms&tbm=isch&ei=6qLVT5OnK8XZrQeKw8j7Dw&sa=X&oi=mode_link&ct=mode&cd=2&sqi=2&ved=0CEoQ_AUoAQ&biw=1366&bih=631#hl=th&tbm=isch&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&aq=f&aqi=&aql=&gs_l=img.3...77223.80103.0.80887.3.3.0.0.0.0.152.384.1j2.3.0...0.0.em8qfkvd7FQ&pbx=1&bav=on.2,or.r_gc.r_pw.r_qf.,cf.osb&fp=94b85f91b0e98f1c&biw=1366&bih=631

ยุค 2Gเป็นยุคที่เปลี่ยนจากการส่งคลื่นวิทยุแบบแอนาล็อกมาเป็นการใช้สัญญาณดิจิทัล โดยส่งผ่านทางคลื่นไมโครเวฟ ทำให้สามารถใช้งานทางด้านข้อมูลได้นอกเหนือจากการใช้งานทางเสียงเพียงอย่างเดียวโดยสามารถรับข้อมูลต่างๆ และเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนเกิดการกำเนิดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐานหรอที่เรียกว่า เซลล์ไซต์ (cell site) และก่อให้เกิดระบบ GSM (Global System for Mobile) ซึ่งทำให้สามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไปใช้ได้เกือบทั่วโลก หรือที่เรียกว่า บริการข้ามเครือข่าย (roaming)

                                                     
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&hl=th&prmd=imvns&source=lnms&tbm=isch&ei=6qLVT5OnK8XZrQeKw8j7Dw&sa=X&oi=mode_link&ct=mode&cd=2&sqi=2&ved=0CEoQ_AUoAQ&biw=1366&bih=631#hl=th&tbm=isch&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%842G&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%842G&aq=f&aqi=&aql=&gs_l=img.12...6021.6414.0.10689.2.2.0.0.0.0.151.230.1j1.2.0...0.0.3A1FuvWOFxI&pbx=1&bav=on.2,or.r_gc.r_pw.r_qf.,cf.osb&fp=94b85f91b0e98f1c&biw=1366&bih=631

ยุค 3G ใช้บริการมัลติมีเดีย และส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น มีความเรฝ้วมราสูงขึ้น มีความเร็วในการดาวน์โหลดข้อมูลสูงสุด 2 เมกกะบิตต่อวินาทีหรือเร็วกว่าเคลือข่าย EDGE ที่ใช้ในปัจจุบันเกือบ 10 เท่า มีช่องสัญญาณความถี่ ความจุในการรับส่งข้อมูลที่มากกว่า เข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้สะดวกยิ่งขึ้น สามารถสนทนาแบบเห็นหน้า (video telephony) และการประชุมทางไกลผ่านวิดิโอผ่านอินเทอร์เน็ตในรูปแบบดิจิทัล ซึ่งมีสัญญาณภาพที่คมชัด และสามารถใช้บริการข้ามเคลือข่าย (roaming) ได้เช่นเดียวกับระบบ GSM

                                                                     
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&hl=th&prmd=imvns&source=lnms&tbm=isch&ei=6qLVT5OnK8XZrQeKw8j7Dw&sa=X&oi=mode_link&ct=mode&cd=2&sqi=2&ved=0CEoQ_AUoAQ&biw=1366&bih=631#hl=th&tbm=isch&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%843G&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%843G&aq=f&aqi=&aql=&gs_l=img.12...119487.120320.2.121681.2.1.0.1.0.0.171.171.0j1.1.0...0.0.I10uMiANZCI&pbx=1&bav=on.2,or.r_gc.r_pw.r_qf.,cf.osb&fp=94b85f91b0e98f1c&biw=1366&bih=631
                                                                 
ยุค 4G เป้นเคลือข่ายไร้สายความเร็วสูงชนิดพิเศษมีความเร็วในการสื่่อสารได้ถึงระดับ 20-40 เมกะบิตต่อวินาที สามารถเชื่อมต่อเสมือนจริงในรูปแบบสามมิติ (three-dimensional :3D) ระหว่างผู้ใช้ด้วยกันเองโดยให้บริการมัลติมีเดียในลักษณะที่สามารถตอบโต้ได้ เช่น อินเตอร์เน็ตไร้สาย เทเลคอนเฟอเรนซ์ เป็นต้น

                                                             
ที่มา หนังสือคอมพิวเตอร์ ม.2
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%841G&hl=th&prmd=imvns&source=lnms&tbm=isch&ei=6qLVT5OnK8XZrQeKw8j7Dw&sa=X&oi=mode_link&ct=mode&cd=2&sqi=2&ved=0CEoQ_AUoAQ&biw=1366&bih=631#hl=th&tbm=isch&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%844G&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%844G&aq=f&aqi=&aql=&gs_l=img.3...91434.92276.4.93889.2.1.0.1.0.0.172.172.0j1.1.0...0.0._xeLuN50X8E&pbx=1&bav=on.2,or.r_gc.r_pw.r_qf.,cf.osb&fp=94b85f91b0e98f1c&biw=1366&bih=631

วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บรอดแบนด์

     บรอดแบนด์ คือ ระบบการสื่อสารที่มีความเร็วสูง รับปริมาณการสื่อสารได้มากมายหลายช่องสัญญาณ ซึ่งปัจจุบัน ระบบบรอดแบนด์ในประเทศไทยได้เข้ามาสู่ผู้ใช้งานตามบ้านแล้ว ด้วยบริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (Asymmetric Digital Subscripber Line : ADSL) ซึ่งทำให้การใช้บริการอินเทอร์เน็ตมีความเร็วสูงสุดมากกว่า 2.0 เมกะบิตต่อวินาที แต่ในทางธุรกิจโทรคมนาคม คำว่าบรอดแบนด์จึงหมายถึง ระดับความเร็วที่มากกว่าหรือเท่ากับ 256 กิโลบิตต่อวินาที ดังนั้นจึงถือว่าระดับความเร็ว 256 กิโลบิตต่อวินาที เป็นระดับความเร็วขั้นต่ำสุดของบรอดแบนด์นั่นเอง
 

ที่มา  หนังสืิอคอมพิวเตอร์ ม.2